วารสารพฤกษศาสตร์ไทย สวนสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์
     
แสดงบทความ
 
ชื่อบทความ(ไทย): การสร้างคาริโอไทป์ของโครโมโซมของข้าวในระยะพาไคทีนโดยใช้ BAC ที่จำเพาะต่อโครโมโซม
ชื่อบทความ(Eng): Karyotyping of meiotic pachytene chromosomes of rice using specific BAC
ชื่อผู้แต่ง(ไทย): ธีรพร จิรธรรมคุณ เสาวนีย์ สุพุทธิธาดา ลักษณา กันทะมา และ สมศักดิ์ อภิสิทธิวาณิช
ชื่อผู้แต่ง(Eng) : THEERAPORN JIRATAMMAKUN, SAOWANEE SUPUTTITADA, LAKSANA KANTAMA2 & SOMSAK APISITWANICH
เลขที่หน้า:  ถึง
ปี: 2553
ปีที่: 2
ฉบับที่: พิเศษ   แสดงบทความทั้งหมดของฉบับ
บทคัดย่อ:         ข้าวเป็นธัญพืชที่สำคัญในทวีปเอเชีย และเป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยวชนิดแรกที่มีการหาลำดับนิวคลีโอไทด์ของจีโนมอย่างสมบูรณ์ การศึกษาครั้งนี้ต้องการเปรียบเทียบข้าว Oryza sativa ssp. japonica cv. Nipponbare, O. sativa ssp. indica cv. IR36 และ O. sativa ssp. indica cv. Pathumtani1 โดยทำการคัดเลือก bacterial artificial chromosomes (BACs) 10 ชนิดจากฐานข้อมูล
จีโนมของข้าว นำไปไฮบริไดซ์บนโครโมโซมระยะพาไคทีนของข้าวทั้ง 3 ชนิด พบว่า BAC 5 ชนิด (67N01, 14F04, 89N06, 40B10 และ 38F07) สามารถไฮบริไดซบ์ นตำแหนง่ ที่คลา้ ยกันบนโครโมโซม 3 แท่ง ส่วน BAC อีก 5 ชนิด (02J24, 71K19, 56G17, 09F13 และ 63N15) ไฮบริไดซ์ลงบนตำแหน่ง
ที่แตกต่างกันในข้าวแต่ละพันธุ์ แสดงว่าตำแหน่งของ BAC ที่คัดเลือกสามารถใช้เป็นเครื่องหมายบนโครโมโซมบอกความเหมือนและความแตกต่างจากฐานข้อมูลของข้าว แสดงให้เห็นว่าการทำแผนที่บนโครโมโซมในระยะพาไคทีนเป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพในการบอกความสัมพันธ์ของจีโนมข้าวในระดับโครโมโซม
        Rice is the staple crop in Asia. It is the first monocot plant model for complete genome sequencing. This study aimed to compare among 3 varieties of rice, Oryza sativa ssp. japonica cv. Nipponbare, O. sativa ssp. indica cv. IR36 and O. sativa ssp. indica cv.
Pathumtani1. Ten bacterial artificial chromosomes (BACs) were selected according to thedatabase of the rice genome project. All ten selected BAC clones were hybridized on pachytene chromosomes of 3 different rice cultivars. Result showed that 5 BACs (67N01, 40B10, 38F07, 09F13 and 63N15) were hybridized on the similar 3 locations of chromosomes whereas the other 5 BACs (02J24, 14F04, 89N06, 71K19 and 56G17) were hybridized at different positions of 3 rice cultivars. This reveals that selected BACs could be used as chromosomal markers and gave more details in the rice database. The pachytene chromosome mapping is one of effective tools for rice genome determining at the chromosome level.
download count:
 



    right-buttom
     
 

There are 74 online

All rights reserved The Botanical Garden Organization,Thailand